Thursday, October 30, 2014

Brain Games: Stay Mentally Active to Prevent Alzheimer’s


Alzheimer’s May Be Prevented


Can we reduce our risk of Alzheimer’s disease? Researchers believe so. A 2011 study published in Lancet Neurology reported that up to half of cases worldwide could be related to lifestyle factors. These include high blood pressure, smoking, obesity, depression, low education, diabetes, and lack of exercise.
Reducing this amount by just 10-25 percent could prevent as many as three million cases worldwide.Click through the slideshow to find out how education, learning, and brain games can help protect brain health.

Brain Games May Help

   Studies tell us that keeping the brain active helps to protect it. A 2012 study found that engaging in brain-stimulating activities throughout life was associated with a reduced risk of Alzheimer’s disease. Those who stayed mentally engaged from childhood to old age had lower levels of beta amyloid in their brains.
Beta amyloid is a protein that can clump together to form hardened plaques in the brain. These plaques can destroy memory and thinking skills. They are often found in the brains of people suffering from Alzheimer’s disease.

Cognitive Activities Make a Difference

  An earlier study found similar results. Researchers signed up about 800 people without dementia. Researchers rated how often the subjects participated in cognitive activities, like reading a newspaper. Each person received a “cognitive activity score” based on his or her activities.
Researchers found that even a one-point increase in score was associated with a 33 percent reduced risk of Alzheimer’s disease.



Game #1—Learn Something New

When experts discuss ways to keep the brain active, one of the first things that usually comes up is to learn something new. The brain is rarely challenged as much as when it comes up against completely unfamiliar territory. Learning how to navigate new situations requires the creation of new messaging pathways that haven’t been forged before. Something about this process seems to encourage brain health—much like exercising works and benefits heart health.
Learn to play a musical instrument. Take up a new hobby. The greater the novelty and challenge, the bigger the benefit to your brain.

Game #2—Speak in Tongues

Learning anything new has its benefits. Picking up a second language, though, may help supercharge the brain. A 2013 study found that people who spoke two languages developed dementia four and a half years later than people who spoke only one.
It takes a lot of brain activity to speak one language while repressing the other. Just like certain exercises like swimming and martial arts work the whole body, learning a second language seems to work the whole brain.


Game #3—Read and Play Chess

Some researchers have found that leisure time activities can reduce the risk of Alzheimer’s disease. For example, adults who spend time reading and playing chess were less likely to suffer the disease than those who watched TV.
The key was stimulating the brain. Doing something active rather than passively sitting in front of the television makes the brain work harder.


Game #4—Try Computer Games

Is it really possible to ward off Alzheimer’s by playing video games? Some research suggests it might be.
In one study, scientists reviewed 5,000 studies on the prevention of dementia and Alzheimer’s disease. They found that regular intake of vitamins, herbal supplements, and medications did not reduce risk. On the other hand, mental exercise, such as that experienced during computerized memory training programs, may help.
What kind of games should people try? The main thing is to be sure they require active participation. Helpful games require you to make quick decisions, remember things, and coordinate your responses.


Game #5—Puzzles

Scientists generally agree that doing crossword puzzles may reduce your risk of Alzheimer’s. So far, there’s no scientific research that shows this directly. However, it’s important to stimulate the brain on a regular basis.
You can do that by completing a few crossword puzzles, putting together an old-fashioned puzzle, or challenging yourself with a math problem. You may receive even greater benefits, however, by learning something entirely new.


Game #6—Play with Friends

Though playing games on your own stimulates your brain, inviting some friends over is even better. A 2008 study looked at 147 male twin-pairs who had a higher risk for Alzheimer’s disease because of their genetic profile.
Researchers found that participants who spent their leisure time interacting with friends and family, and taking part in clubs had a much lower risk of dementia than those who didn’t.
Maintaining social connections can become more difficult with age. Experts recommend joining new clubs, taking a class, or volunteering


Don’t Forget Your Physical Health

Mentally stimulating activities may help prevent Alzheimer’s, or even delay it if you have it. But it’s also important to remember your physical health. Good nutrition, sound sleep, regular exercise, and stress management are all important to a healthy brain.
Taking care of your heart, as well, is critical. Control high blood pressure and high blood cholesterol, and participate in regular aerobic activities like swimming, biking, or dancing.
ที่มา http://www.healthline.com/health-slideshow/alzheimers-brain-games#1

Alzheimer

Alzheimer 
บทความ 
1. Dr. Neal Barnard


อันดับแรก คุณหมอนีลบอกว่า สมองของคนเป็นโรคอัลไซเมอร์สนั้น เมื่อตรวจดูแล้วพบว่ามี “โลหะหนัก” มากกว่าคนทั่วๆ ไป โลหะหนักเหล่านี้ เช่น Iron Copper Zinc ซึ่งมักปะปนมากับการทานผลไม้ที่ปนเปื้อนยาฆ่าแมลง การดื่มน้ำที่ปนเปื้อน การทานวิตามินรวมที่มี Minerals ผสมอยู่มากเกินที่ร่างกายต้องการ รวมถึงการทานเนื้อสัตว์และนมในปริมาณมากๆ เป็นประจำทุกวัน โลหะหนักเมื่อเข้าไปปนเปื้อนในสมองแล้ว จะทำให้เส้นใยสมองในบริเวณนั้นตาย ส่งผลให้เราใช้สมองในบริเวณนั้นไม่ได้ ข้อมูลที่เก็บสะสมไว้ในสมองส่วนนั้นก็ใช้การไม่ได้ไปด้วย จึงทำให้เราหลงลืมนั่นเอง 

สิ่งที่เรารับประทานเข้าไป หายใจเข้าไป และอาบทาบนตัวมีผลกับสมองมากอย่างที่เราอาจนึกไม่ถึง 
เราทานอาหารที่ปนเปื้อนโลหะหนักไหม เราย้อมผมบ่อยไหม เราอยู่ในเขตเมืองที่ใกล้โรงงานไหม บ้านเราอยู่ติดถนนใหญ่ไหม ฯลฯนี่เป็นเรื่องที่ควรนำมาคิดประกอบทั้งสิ้นว่าเรามีความเสี่ยงต่อโรคนี้สักแค่ไหน เรื่องเล็กๆ บางทีก็ไม่เล็กอย่างที่คิดค่ะ
คุณหมอนีลเอง งดทานปลาและซีฟู้ด

ฟังแล้วงงไหมคะ คนเรามักคิดว่า การทานปลาโดยเฉพาะปลาแซลมอนนั้นดีสำหรับสมอง แต่คุณหมอนีลบอกว่า สัตว์ทะเลทั้งหลายอาศัยอยู่ในสถานที่ที่มนุษย์ใช้ทิ้งขยะและสารเคมี จึงทำให้พวกเขามีการปนเปื้อนโลหะหนักสูงสุด รวมถึงไขมันในตัวปลามี Omega3 ก็จริง แต่เป็นไขมันเพียง 15-25% เท่านั้น ส่วนอีกประมาณ 75% เป็นไขมันไม่ดี คิดแล้วไม่คุ้ม คุณหมอจึงแนะนำให้เราทานผักและถั่วเพื่อให้ได้สารอาหารที่ไม่ปนเปื้อนจะดีกว่า

สิ่งที่เราควรทำก็คือ การทานอาหารที่เรียกว่า 4 Power Foods ซึ่งมีโลหะหนักต่ำ มีไขมันแย่ๆ ต่ำ และมีวิตามินสูง คุณหมอแนะนำให้คอยซื้ออาหารเหล่านี้มาเก็บไว้ในบ้านและใช้ทำอาหารเมนูต่างๆ ทานเสมอๆ รายการมีดังต่อไปนี้ค่ะ 
มันเทศ มะม่วง บร็อคโคลี เม็ดฟักทอง พริกหวาน ข้าวโพด ข้าวซ้อมมือ นมถั่วเหลือง นมอัลมอนด์ ถั่วแดง ถั่วดำ และถั่วทุกประเภท แอสพารากัส เคล กล้วย ส้ม เลนทิล และข้าวโอ๊ต ฟังดูแล้วหาไม่ยากเลย

คุณหมอแนะนำว่า ให้หาเมนูครีเอตๆ มาทำที่ต้องใช้ส่วนผสมเหล่านี้สลับๆ กันไป ส่วนวิธีอื่นๆ เช่น การออกกำลังกาย การเล่นเกมฝึกสมองนั้น ก็สมควรทำ แต่ก่อนสิ่งอื่นใด เราต้องเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน รวมถึงเปลี่ยนเมนูอาหารของเราหากเราอยากมีชีวิตที่ห่างไกลจากโรคอัลไซเมอร์ส ส่วนใครอยากอ่านงานของคุณหมอ หนูดีแนะนำว่า หนังสือคุณหมออ่านสนุกค่ะ มีเมนูลดความอ้วนไปพร้อมๆ กับป้องกันอัลไซเมอร์สอีกต่างหาก รู้ใจผู้หญิงจริงๆ 
ที่มา http://goo.gl/0hEjC7

2.พญ.อุมามน พวงทอง

จิตแพทย์โรงพยาบาลมนารมย์ ให้ข้อมูลว่า โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของกลุ่มอาการสมองเสื่อม (dementia) ในประเทศไทย มีการศึกษาถึงความชุกของภาวะสมองเสื่อม โดยพบว่าคนที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 75 จะเป็นโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เป็น 2 เท่า ตามอายุของผู้ป่วยในทุกๆ 5 ปี เพศชายและเพศหญิง มีโอกาสเกิดโรคได้เท่าๆ กัน 
อธิบายว่าอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ พันธุกรรมในโรคอัลไซเมอร์ที่เริ่มอาการตั้งแต่อายุน้อย คือ โรคอัลไซเมอร์ที่เริ่มแสดงอายุตั้งแต่ช่วง 40-60 ปี ซึ่งพบได้น้อยมาก ซึ่งมียีนที่เกี่ยวข้องอยู่ 3 ตัวหลัก คือ พรีซีนิลิน 1 พรีซีนิลิน 2 และอะมัยลอยด์พรีเคอร์เซอร์โปรตีน นอกจากนี้ ผู้ที่มีประวัติว่าพ่อแม่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ ก็จะมีโอกาสเป็นโรคสูงถึงร้อยละ 50 เลยทีเดียว ส่วนพันธุกรรมในโรคอัลไซเมอร์ที่มีอาการเมื่ออายุมาก คือยีนหลักที่เกี่ยวข้อง อะโปไลโบรโปรตีนอี ที่เชื่อว่า เป็นตัวหลักที่เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ จะเพิ่มอัตราเสี่ยงของการเกิดโรค แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกคนมียีนตัวนี้ จะต้องเป็นโรคอัลไซเมอร์แน่นอน
       1.ความบกพร่องด้านความจำ โดยเฉพาะความระยะสั้น คือ ความจำหลังจากรับรู้สิ่งเร้าแล้วเพื่อนำมาใช้งาน ความจำนี้จำได้นาน 20-30 วินาที ความจำระยะสั้นนี้จะสูญสลายไปอย่างรวดเร็ว จึงต้องมีการทบทวนอยู่ตลอดเวลาจึงจะรักษาไว้ได้ ทำโดยการท่องซ้ำๆ เช่น เรากำลังคุยโทรศัพท์กับเพื่อนเพื่อขอเบอร์ของเพื่อนอีกคน เมื่อเพื่อนบอกหมายเลขโทรศัพท์แต่เราไม่มีสมุดจด ก็ท่องไว้ในใจ และรีบวางสายเพื่อต่อสายถึงเพื่อนคนนั้น แต่ในขณะที่เรากำลังกดเบอร์โทรศัพท์นั้นอยู่ ปรากฏว่า มีใครพูดแทรกขึ้นมา หรือชวนคุย ก็อาจทำให้เราลืมหมายเลขโทรศัพท์นั้นไปได้ทั้งๆ ที่ยังกดหมายเลขไม่จบ
       
       2.ความบกพร่องด้านการใช้ภาษา การใช้เหตุผล รวมถึงอาจสับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่
       
       3.บุคลิกภาพ หรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง เช่น มีพฤติกรรมซ้ำๆ หรือพูดซ้ำๆ ตลอด มีปัญหาเรื่องการขับถ่ายที่ไม่เป็นที่เป็นทาง ผู้ป่วยอาจจะจำใครไม่ได้เลย หรือจำเรื่องราวบางสิ่งได้เป็นนาที และลืมภายในไม่กี่นาที
       
       4.ความบกพร่องในการใช้ชีวิตประจำวันด้วยตนเอง เช่น การรับประทาน อาจเคี้ยว หรือกลืนอาหารเองไม่ได้ หรือการขับถ่าย รวมไปถึงเรื่องการดูแลความสะอาดของร่างกาย
       
       ทั้งนี้ การดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์ อาจทำให้ลูกหลาน คนดูแล สมาชิกในครอบครัวรู้สึกรำคาญ เหน็ดเหนื่อย ท้อใจได้ ซึ่ง พญ.อุมามน ให้คำแนะนำที่จำเป็นหลักๆ ดังนี้

 • แบ่งความรับผิดชอบให้สมาชิกในครอบครัวคนอื่นๆ บ้าง เรื่องการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย ทั้งในด้านกำลังกาย กำลังใจ และทุนทรัพย์

• เมื่อมีปัญหาในการดูแลผู้ป่วย ควรบอกเล่าให้สมาชิกในบ้านได้รับทราบอย่างสม่ำเสมอ หาทางปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้กับผู้ป่วย ในบางครั้งถ้าปัญหามากเกินกว่าที่ผู้ดูแลจะรับมือไหว ควรขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญในการร่วมปรับยา และให้คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วย

       1.ควรงดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ทุกชนิด เพราะฤทธิ์ของแอลกอฮอล์จะส่งผลต่อสมอง
       
       2.ควรระวังเรื่องการใช้ยา ไม่ควรรับประทานยาสุ่มสี่สุ่มห้า ควรให้แพทย์เป็นผู้สั่งยาทุกครั้งและควรนำยาที่รับประทานเป็นประจำไปให้แพทย์ดูด้วยเพื่อหลีกเลี่ยงการสั่งยาซ้ำซ้อน
       
       3.ควรระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุที่ส่งผลกระทบกระเทือนศีรษะ
       
       4.สำหรับผู้สูงอายุที่เดินลำบากควรมีคนดูแล เช่น เวลาเข้าห้องน้ำควรมีคนไปเป็นเพื่อน เพราะอาจเกิดการลื่นหกล้มหัวฟาดในห้องน้ำได้
       
       5.เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุควรหมั่นไปตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี และไม่ควรลืมเจาะเลือดเพื่อตรวจหาโรคเบาหวานและโรคไขมันในเลือดสูง
       
       6.ตรวจเช็กความดันเลือดสม่ำเสมอตามที่แพทย์นัด หากพบว่าเป็นความดันโลหิตสูงก็ต้องปฏิบัติตนตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด เพราะมีผลกระทบต่อภาวะสมองเสื่อมได้
       
       7.ควรออกกำลังกายเป็นประจำ ผู้สูงอายุไม่ควรหักโหมจนเกินไป เพราะอาจทำให้เกิดโทษได้
       
       8.ควรหากิจกรรมที่ทำให้ผ่อนคลายความตึงเครียด เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง ดูโทรทัศน์ หมั่นเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ และกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ตามสมควร
       
       9.เมื่อสังเกตว่าตนเองเริ่มมีอาการหลงๆ ลืมๆ มากผิดปกติ หรือมีอาการบ่งชี้อื่นๆ ที่น่าสงสัยก็ควรรีบไปพบประสาทแพทย์ หรือแพทย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุทันที
ที่มา
http://goo.gl/bMkwL3 

3.Dr. Alois Alzheimer

โรค Alzheimer สามารถแบ่งระยะของโรคได้ 3 ระยะได้แก่
ระยะเริ่มแรกผู้ป่วยจะรับรู้ว่าขี้ลืม ลืมปิดเตารีด ลืมปิดประตู ลืมชื่อคน ลืมรับประทานยา ต้องให้คนช่วยเขียนรายการที่จะทำ
ระยะที่สองผู้ป่วยจะสูญเสียความจำโดยเฉพาะความจำที่เพิ่งเกิดใหม่ๆโดยอาจจะจำเรื่องราวในอดีต เริ่มใช้คำพูดไม่ถูกต้อง อารมณ์จะผันผวน
ระยะที่สาม ผู้ป่วยจะสับสน ไม่รู้วันรู้เดือน บางรายมีอาการหลงผิด หรือเกิดภาพหลอน บางรายอาจจะก้าวร้าวรุนแรง ปัสสาวะราด ไม่สนใจตนเอง
อันที่จริงโรคนี้มีมานานแล้วโดย Dr. Alois Alzheimer เป็นแพทย์ชาวเยอรมันเป็นผู้บรรยายไว้ตั้งแต่ปี คศ.1906 ที่นำมากล่าวขานกันระยะหลังนี้มากขึ้น ด้วยเหตุมีผู้ที่เคยเป็นผู้นำประเทศอย่าง Ronald Reagan ป่วยเป็นโรคนี้ และ วงการแพทย์ค้นพบปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและอาจเป็นสาเหตุของโรคนี้มากขึ้น ที่สำคัญคือ สามารถผลิตยาที่ช่วยทำให้อาการของอัลไซเมอร์ดีขึ้น 

จจัยเสี่ยงคือ 
อายุ ยิ่งอายุมากยิ่งมีโอกาสเป็นมากดังกล่าว พบว่าร้อยละ25ของผู้ป่วยอายุ 85ปี เป็นโรคนี้
โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงทำให้ผู้ป่วยสูญเสียความจำ การรักษาความดันจะทำให้ความจำดีขึ้น
 เรื่องของกรรมพันธุ์ ถ้ามีบุคคลในครอบครัวป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ โอกาสที่จะเป็นก็มากขึ้น เรื่องพันธุกรรมนี้มีความก้าวหน้าขึ้นมาก เช่น ทราบว่าความผิดปกติของยีน (gene) ที่สร้าง amyloid precursor protein จะทำให้ได้โปรตีนที่ผิดปกติ ก่อให้เกิดตะกอนที่เรียกว่า amyloid plaques ในเนื้อสมอง และผู้ที่มี gene บนโครโมโซมที่ 19 ชนิด Apolipoprotein E4 จะมีโอกาสเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้มากกว่าคนปกติ นอกจากนี้ ยังพบโปรตีนที่ผิดปกติอื่นๆ เช่น Tau protein ที่อาจเกี่ยวข้องกับการเกิดกลุ่มใยประสาทที่พันกัน (Neurofibrillary tangles) ที่พบเป็นลักษณะจำเพาะของพยาธิสภาพของโรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยในระยะแรก 
บอกการวินิจฉัยให้แก่ผู้ป่วยเพื่อที่แพทย์จะสามารถให้การรักษาได้ตั้งแต่เริ่มเป็น แพทย์ ผู้ที่ดูแล และผู้ป่วยจะต้องมาปรึกษาว่าจะเกิดภาวะอะไรกับผู้ป่วย เช่นความจำ อารมณ์เป็นต้น
อารมณ์ เนื่องจากผู้ป่วยจะมีอารมณ์ที่ผันผวนอย่างรวดเร็ว อาจจะกร้าวและโกรธจัด พฤติกรรมนี้เกิดจากความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง และเกิดจากที่ผู้ป่วยสูญเสียความรู้และไม่สามารถเข้าใจสิ่งต่างๆรอบตัว และไม่สามารถใช้คำพูดได้อย่างเหมาะสมจึงทำให้ผู้ป่วยมีอารมณ์ที่แปรปรวน ผู้ให้การดูแลต้องจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบง่าย ให้เงียบ เวลาพูดกับผู้ป่วยต้องช้าๆ และให้ชัดเจน ไม่ให้ทางเลือกกับผู้ป่วยมากไปเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้ถูกต้อง เช่นให้ผู้ป่วยเลือกเสื้อผ้าเอง ผู้ป่วยไม่สามารถเลือกเสื้อผ้าให้เข้ากันซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยโกรธ เมื่อผู้ป่วยโกรธ หรือตะโกนอาจจะหาของว่างให้รับประทาน หรือขับรถให้ผู้ป่วยเที่ยวซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยสงบ ผู้ให้การบริการจะต้องมีอารมณ์ทีสงบ อารมณ์ไม่ฉุนเฉียว
ความสะอาด ผู้ป่วยมักจะไม่อยากอาบน้ำ ผู้ป่วยอาจจะเลือกเสื้อผ้าไม่เหมาะสมผู้ดูแลอย่าโกรธ ต้องแสดงความเห็นใจ
การขับรถ เมื่อวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ห้ามขับรถ ต้องป้องกันผู้ป่วยออกนอกบ้านโดยการ lock ประตูและอาจจะติดสัญญาณเตือนเมื่อผู้ป่วยออกนอกบ้านพยายามให้ผู้ป่วยออกกำลัง เช่นเดินครั้งละ 30 นาทีวันละ 3 ครั้งจะทำให้ผู้ป่วยเพลียและหลับง่าย
การนอนหลับ มีคำแนะนำให้เปิดไฟให้สว่างในเวลากลางวัน จะทำให้ผู้ป่วยหลับในเวลากลางคืน

สรุป ข้อควรรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ ได้แก่

1. อัลไซเมอร์เป็นโรค ไม่ใช่ภาวะสมองเสื่อมตามธรรมชาติ หรือตามอายุที่มากขึ้น
2. สาเหตุยังไม่ทราบชัด แต่น่าจะมีส่วนจากพันธุกรรม อาจมีปัจจัยอื่นร่วมด้วย ดังนั้นสามารถเกิดได้กับทุกคน
3. ขณะนี้ ยังไม่สามารถป้องกัน และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
4. การดูแล ความเห็นอกเห็นใจ และความเข้าใจ เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการดูแลผู้ป่วย
5. ถ้ามีญาติที่เริ่มมีอาการหลงลืม ควรพบแพทย์ระบบประสาท อาจเป็นสาเหตุอื่นที่รักษาหายขาดได้
6. โรคนี้มักเกิดในผู้สูงอายุ ดังนั้น ผู้ที่รู้สึกว่าหลงลืมบ่อยโดยที่อายุไม่มาก (20-50 ปี) มักเกิดจากสาเหตุอื่น ส่วนมากเกิดจากการพักผ่อนไม่พอ เครียด ไม่มีสมาธิ ควรแก้ไขสิ่งเหล่านี้ ถ้าไม่ดีขึ้นค่อยปรึกษาแพทย์ เพราะมักเป็นสาเหตุที่รักษาให้หายขาดได้
7. เนื่องจากยังไม่มีการวินิจฉัยที่แน่นอนการวินิจฉัยจะอาศัยหลัก 3ประการ
-มีอาการสมองเสื่อม อาการจะเริ่มจากความจำเสื่อม การเรียนรู้เสียไป
-อาการของโรคจะดำเนินต่อเนื่องไม่หาย
-ต้องแยกภาวะหรือโรคอื่นที่ทำให้เกิดอาการสมองเสื่อม
8. ไม่ควรกลัวโรคนี้จนเกินไป เนื่องจากขณะนี้มีการวิจัยเรื่องนี้มากมายทั่วโลก เชื่อว่าอีกไม่นานนัก อาจมียาที่รักษาหรือป้องกันได้
9. ในทางการแพทย์ ยังไม่แนะนำให้ทานยาใดๆเพื่อป้องกัน เพราะมักไม่ได้ผล และยาหรือสมุนไพรหรืออาหารเสริมเหล่านี้ส่วนมากมีราคาแพง และมักโฆษณาเกินความจริง

ที่มา 


Alzheimer Games


Friday, October 17, 2014

สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

Electronic Government Agency (Public Organization) (EGA) 







ด้วยนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการผลักดันเศรษฐกิจของประเทศโดยวางรากฐานเศรษฐกิจไทย สู่ "ดิจิตอล อีโคโนมี" เพื่อมุ่งหวังให้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที มีความสำคัญเชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน และลงลึกไปในธุรกิจตั้งแต่ระดับใหญ่ ไปถึงธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยใช้ระบบดิจิตอลในการเพิ่มประสิทธิภาพกาบริหารจัดการขององค์กรและเครือ ข่ายระหว่างองค์กร ซึ่งจะส่งผลทำให้องค์กรสามารถตอบสนองความต้องการการบริการของลูกค้าได้รวด เร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

         ที่ผ่านมาแนวทางขับเคลื่อน ดิจิตอล อีโคโนมี อย่างยั่งยืนถือเป็นนโยบายที่สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ อีจีเอ ได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยได้จัดทำโครงการนวัตกรรมซอฟต์แวร์ออนไลน์เพื่อการบริการภาครัฐ หรือ Software Innovation for e-Government (SIGO) ขึ้นโดยร่วมมือกับสำนักงานพัฒนาซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ SIPA และ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทย (Software Park)  เนื่องจากทั้งสามหน่วยงานมีภารกิจที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวโดย เฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นการส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการพัฒนารัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยและการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ให้มีศักยภาพสามารถเติบโตและแข่งขันในอุตสาหกรรมระดับเวทีโลกได้อย่าง ยั่งยืน ซึ่งในโครงการดังกล่าวจะมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมทางด้านซอฟต์แวร์ในการ พัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการภาครัฐของประเทศไทย อันประกอบด้วยกิจกรรม 5 ด้าน ได้แก่  






Thursday, October 9, 2014

SPACE SHOOTER Day 1


PROJECT: SPACE SHOOTER Day 1

  • ขั้นตอนการออกแบบ Ship Space


    เป็นการออกแบบ Ship Space โดยใช้โปรแกรม 3D Maya
      ทีมงานได้คุยเรื่องการออกแบบเครื่องยนต์ เนื่องจากเกมส์ที่เราออกแบบอยู่ในอวกาศ จึงทำให้เครื่องยนต์ไม่ใช้ เครื่องยนต์ไอพ่น ( Jet Engine ) เนื่องจากการทำงานของเครื่อง Jet ใช้อากาศเป็นตัวขับเคลื่อน 









 -ข้อมูลเพิ่มเติม
http://en.wikipedia.org/wiki/Jet_engine


จึงต้องนำเอาเทคโนโลยี Solid-fuel rocket / A solid rocket or a solid-fuel rocket  เพื่อใช้ในการออกแบบ Ship Space 

Solid-fuel rocket
    A solid rocket or a solid-fuel rocket is a rocket with a motor that uses solid propellants (fuel/oxidizer). The earliest rockets were solid-fuel rockets powered by gunpowder; they were used in warfare by the Chinese,IndiansMongols and Arabs, as early as the 13th century.[1]
All rockets used some form of solid or powdered propellant up until the 20th century, when liquid rockets offered more efficient and controllable alternatives. Solid rockets are still used today in model rockets and on larger applications for their simplicity and reliability.
Since solid-fuel rockets can remain in storage for long periods, and then reliably launch on short notice, they have been frequently used in military applications such as missiles. The lower performance of solid propellants (as compared to liquids) does not favor their use as primary propulsion in modern medium-to-large launch vehicles customarily used to orbit commercial satellites and launch major space probes. Solids are, however, frequently used as strap-on boosters to increase payload capacity or as spin-stabilized add-on upper stages when higher-than-normal velocities are required. Solid rockets are used as light launch vehicles for low Earth orbit (LEO) payloads under 2 tons or escape payloads up to 1100 pounds.

 -ข้อมูลเพิ่มเติม
http://en.wikipedia.org/wiki/Solid-fuel_rocket





How Rocket Engines Work?

  The "strength" of a rocket engine is called its thrust. Thrust is measured in "pounds of thrust" in the U.S. and in Newtons under the metric system (4.45 Newtons of thrust equals 1 pound of thrust). A pound of thrust is the amount of thrust it would take to keep a 1-pound object stationary against the force of gravity on Earth. So on Earth, the acceleration of gravity is 32 feet per second per second (21 mph per second). If you were floating in space with a bag of baseballs and you threw one baseball per second away from you at 21 mph, your baseballs would be generating the equivalent of 1 pound of thrust. If you were to throw the baseballs instead at 42 mph, then you would be generating 2 pounds of thrust. If you throw them at 2,100 mph (perhaps by shooting them out of some sort of baseball gun), then you are generating 100 pounds of thrust, and so on.





 -ข้อมูลเพิ่มเติม
http://science.howstuffworks.com/rocket2.htm